กรณีศึกษาที่ 1 : ในกระบวนการผลิตอาหารบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป การตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของเครื่องปรุงต่างๆ เป็นสิ่งสำคัญ ออมรอนมีโซลูชั่นช่วยในการตรวจสอบอย่างไร ? ปัญหา : ในกระบวนการบรรจุบะหมี่และซอสปรุงรส บางครั้งเราอาจพบว่าไม่มีซองเครื่องปรุงในบรรจุภัณฑ์ซึ่งอาจเกิดจากความผิดพลาดของคนงาน ลูกค้าจึงต้องการใช้เซนเซอร์เพื่อตรวจสอบว่ามีซองซอสอยู่หรือไม่เพื่อให้แน่ใจก่อนส่งไปยังแผนกบรรจุภัณฑ์ ออมรอนจะมีโซลูชั่นไหนเพื่อการแก้ปัญหานี้ ออมรอนขอนำเสนอโซลูชั่นการติดตั้งเลเซอร์เซนเซอร์รุ่น E3NC-SA21 ( CMOS ) พร้อมหัว E3NC-SH250 โดยเซนเซอร์จะสามารถตรวจจับได้ว่ามีหรือไม่มีซอสเครื่องปรุง นอกจากนี้แล้วการ teching ยังมีจุดเด่นด้านการปรับแต่งตั้งค่าการตรวจจับได้ง่าย ๆ ทั้งแบบมีและไม่มีซอส กรณีศึกษาที่ 2 : ในระบบสายพานลำเลียง การตรวจสอบถาดแต่ละขนาดว่า มี/ไม่มี แคร็กเกอร์ ปัญหา : ลูกค้าต้องการใช้เซนเซอร์ตรวจสอบตำแหน่งของถาดก่อนเติมแคร็กเกอร์ แต่ไม่สามารถใช้หัวไฟเบอร์แบบธรรมดาได้ด้วยเพราะถาดขนมที่แตกต่าง ออมรอนจะมีโซลูชั่นดีๆอะไรเพื่อมาแก้ปัญหานี้ ออมรอนขอนำเสนอโซลูชั่นการใช้หัวเซนเซอร์ รุ่น E32-T16PR พร้อม E3X-HD ด้วยโซลูชั่นนี้ชนิดของถาดขนมแคร็กเกอร์ก็จะไม่มีผลต่อการตรวจจับเซนเซอร์อีกต่อไปเนื่องจากหัวเซนเซอร์เป็นแบบแถบ –[ การตรวจสอบตะเข็บในกระบวนการผลิตสินค้า ]– กรณีศึกษาที่ 3 : การตรวจสอบตะเข็บในกระบวนการผลิตสินค้า ปัญหา : สำหรับขั้นตอนนี้จำเป็นจะต้องตรวจสอบความถูกต้องของบรรจุภัณฑ์ว่ามีรอยตะเข็บหรือไม่ […]
Continue Reading... Comments Off on สาระพันปัญหาแก้ได้ด้วย..Omron Solution –[ ตอน ตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของสินค้าและบรรจุภัณฑ์ ]สำหรับวงการอุตสาหกรรมอาหารแล้ว หนึ่งในปัญหาที่แทบจะมีกับทุกโรงงานก็คือ การเช็คตำแหน่งการตัดของซองบรรจุภัณฑ์ นั่นเองค่ะ ด้วยเหตุนี้ออมรอนจะมีโซลูชั่นอะไรที่สามารถช่วยแก้ปัญหานี้ได้บ้างนะ? ปัญหาที่เกิดขึ้นคือ… หลังจากเติมซอสลงในบรรจุภัณฑ์แล้ว ผู้ใช้งานต้องคอยตรวจสอบตำแหน่งที่เหมาะสมของบรรจุภัณฑ์ซอสเพื่อทำการตัดซึ่งนั่นก็คือ จุดที่ไม่มีซอส!! จากปัญหาการเช็คตำแหน่งการตัดซองบรรจุภัณฑ์ ออมรอนขอนำเสนอโซลูชั่นการติดตั้งใช้งานอุปกรณ์เซนเซอร์รุ่น E3NX-FA ร่วมกับ E32-T11R และ E39-F1 โดยตั้งค่า Teching ตำแหน่งว่ามีซอสหรือไม่มีซอสเพื่อระบุตำแหน่งที่จะทำการตัดซองบรรจุภัณฑ์
Continue Reading... Comments Off on สาระพันปัญหาแก้ได้ด้วย..Omron Solution –[ ตอนปัญหาการเช็คตำแหน่งตัดซองบรรจุภัณฑ์ ]–ความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วในด้านเทคโนโลยีพื้นฐานอย่าง การนำทาง การจัดการ และความปลอดภัยในการทำงานเป็นเหตุให้เกิดการผลักดันหุ่นยนต์ให้มีความเฉลียวฉลาด คล่องตัวและมีความปลอดภัยมากขึ้น เพื่อนในอุดมคติสำหรับมนุษย์อย่างหุ่นยนต์เคลื่อนที่นั้น ได้รับการพิสูจน์แล้วในเรื่องของการปฏิบัติงานและหน้าที่ที่มีความสำคัญทางธุรกิจในสภาพกลางแจ้งจากบริษัทสืบค้นข้อมูลระดับโลก ABI Research กล่าวว่า “การขนส่งของหุ่นยนต์เคลื่อนที่กลางแจ้งจะเติบโตขึ้นจาก 40,000 ตัวในปี 2564 เป็น 350,000 ตัวในปี 2573 มีอัตราการเติบโตต่อปีแบบทบต้นสูงกว่า 27% ด้วยความสำเร็จในการใช้งานหุ่นยนต์เคลื่อนที่เพื่อนำทาง จัดการ และเพื่อการทำงานที่ปลอดภัยในการจัดการกับวัสดุ การขนส่งและการทำความสะอาดให้เป็นไปตามเป้าหมายซึ่งปัจจุบันบริษัทต่างๆ ก็กำลังมองหาการนำหุ่นยนต์เพื่อใช้งานกลางแจ้งมาติดตั้งใช้งานด้วยเหตุเดียวกันนี้ โมดูลเหล่านี้มีระบบการนำทางและคอมพิวเตอร์วิทัศน์ที่ปรับให้เข้ากับบริบทโดยมุ่งเน้นไปที่ความสามารถการใช้งานแม้ในระบบรุ่นก่อนและการทำงานร่วมกัน บริษัทยักษ์ใหญ่ด้านน้ำมันและก๊าซกำลังติดตั้งใช้งานหุ่นยนต์สี่ขาจาก ANYbotics และ Boston Dynamics เพื่อตรวจสอบด้านความปลอดภัยบริเวณบันไดตาข่ายและทางแคบๆ ซึ่งจะไม่เหมาะกับหุ่นยนต์มีล้อ จากสถานการณ์โควิด-19 การล็อกดาวน์อย่างต่อเนื่องในประเทศจีนก็เป็นหนึ่งในสาเหตุที่กระตุ้นการนำหุ่นยนต์เคลื่อนที่จาก Alibaba, Neolix, และ White Rhino มาใช้สำหรับการขนส่งต่อสุดท้าย นาย Lian Jye มีความเห็นว่า ผู้จำหน่ายชิปเซ็ต(chipset) รายใหญ่กำลังกระตือรือร้นที่จะพัฒนาโซลูชั่นเพื่อจัดการกับช่องว่างด้านความไร้ที่ติและความปลอดภัย ขณะเดียวกันก็ทำให้เกิดพัฒนาการที่เร่งรัดในหุ่นยนต์ที่สามารถปฏิบัติการร่วมกับมนุษย์ อีกทั้งยังเกิดการทดลองและฝึกฝนหุ่นยนต์เสมือนเพื่อการเข้าถึงและสามารถปรับขนาดได้อย่างหลากหลาย Intel ยังคงพัฒนาชุดการพัฒนาซอฟต์แวร์ RealSense อย่างต่อเนื่องผ่านไลบรารี่และเครื่องมือใหม่ๆ ขณะที่ AMD/Xilinx […]
Continue Reading... Comments Off on การขาดแคลนแรงงานดันยอดหุ่นยนต์ขนส่งเคลื่อนที่กลางแจ้งพุ่งสูงกว่า 350,000 ตัวในปี 2573อย่างที่หลายๆ ท่านทราบดีว่า อุปกรณ์โซลิดสเตตรีเลย์(Solid-State Relay) หรือที่เราเรียกย่อๆว่า SSR นั้นจะถูกนำมาใช้งานในลักษณะคล้ายกับอุปกรณ์รีเลย์(Relay) กล่าวคือ เป็นสวิตซ์ตัวหนึ่งที่มีหน้าที่เปิด-ปิดวงจรต่างกันตรงที่ เราจะนิยมใช้โซลิดสเตตรีเลย์กับงานที่ต้องการความรวดเร็วในการสลับเปิด-ปิดวงจร (Switching) และไม่ต้องการให้มีการเคลื่อนที่ของหน้าสัมผัส(Contact) เนื่องจากเป็นอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ ซึ่งถ้าหากใช้รีเลย์ชนิดหน้าสัมผัสแทน ก็อาจทำให้เกิดการสปาร์ค (Spark) ของกระแสไฟที่หน้าสัมผัสส่งผลให้อายุการใช้งานของรีเลย์สั้นลง การใช้งานโซลิดสเตตรีเลย์หรือ SSR ตามหลักความจริงแล้วควรจะใช้ร่วมกับอุปกรณ์ป้องกัน เช่น ฟิวส์ที่ผลิตจากสารกึ่งตัวนำ และใส่ที่วงจรเอาท์พุต(Output) ของ SSR เพื่อป้องกันความเสียหายจากการเกิดไฟฟ้าลัดวงจร นอกจากนี้การป้องกันการเกิดความเสียหายที่อาจเกิดกับภาคอินพุต(Input) ก็เป็นสิ่งสำคัญไม่แพ้กัน การป้อนปริมาณไฟฟ้าที่ถูกขนาดและถูกขั้วก็นับเป็นการป้องกันการเกิดความเสียหายที่ภาค Input จากรายละเอียดต่างๆ ที่เราควรคำนึงถึงได้แก่…. 1.) Noise Surge ของเอาท์พุต AC อุปกรณ์ SSR จะมีวงจร C/R Snubber มีหน้าที่ลดการกระชาก(Surge) ของแรงดันไฟ แต่ถ้าแรงดัน Surge มีขนาดใหญ่มากๆ วงจร C/R Snubber จะไม่สามารถรองรับได้และแรงดัน Transient หรือแรงดันไฟฟ้าที่สูงชั่วขณะในช่วงเวลาสั้นๆ อาจสูงเกินกว่าที่โซลิดสเตตรีเลย์(SSR) จะรับได้และทำให้อุปกรณ์ […]
Continue Reading... Comments Off on 7 สิ่งสำคัญต้องรู้ ถ้าคุณกำลังใช้งาน Solid State Relay (SSR)หุ่นยนต์ i4H SCARA ให้น้ำหนักบรรทุกและประสิทธิภาพที่มากกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับหุ่นยนต์รุ่นก่อน ลูกค้าสามารถบรรจุเครื่องจักร จัดเรียงพาเลท และประกอบเครื่องจักรกลในอุตสาหกรรมต่างๆ อาทิเช่น อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม และอุตสาหกรรมยานยนต์ เพิ่มเวลาทำงานสูงสุดด้วยจอแสดงผลและไฟแสดงสถานะบนเครื่องที่เพิ่งมีเป็นครั้งแรก i4H มีวางจำหน่ายหลายรูปแบบรวมถึงระยะเอื้อมที่แตกต่างกันไป, ความยาวจังหวะแกน Z และมาตรฐาน IP ระดับต่างๆ ที่มากับความสามารถในการติดตั้งได้กับทั้งผนังและเพดาน OMRON ได้เพิ่มหุ่นยนต์ฟู๊ดเกรดมาตรฐาน IP20 และ IP65 ให้เป็นโซลูชั่นอัตโนมัติของคุณ หุ่นยนต์อุตสาหกรรมเหล่านี้ใช้น้ำมันหล่อลื่นแรงดันสูงที่มีประสิทธิภาพสูงสุดซึ่งพัฒนาขึ้นเป็นพิเศษเพื่อใช้กับจาระบีหล่อลื่นสำหรับเครื่องจักรในอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม สำหรับหุ่นยนต์รุ่นมาตรฐาน IP65 ฟู๊ดเกรด ใช้จาระบีและน้ำมันเกรดอาหารที่ได้รับการรับรอง NSF H1, ISO 21469 และเหมาะสำหรับข้อกำหนดด้านบรรจุภัณฑ์ขั้นรองลงมา คุณสามารถเริ่มต้นใช้งาน i4H ได้ง่ายขึ้นกว่าที่เคยเป็นมาเพราะ… หุ่นยนต์ SCARA i4H สามารถใช้งานร่วมกับ PLC รุ่น NJ ของ Omron ผ่าน EtherCAT และสามารถตั้งโปรแกรมผ่าน IC พร้อมกับผลิตภัณฑ์อื่นๆ ของ OMRON’S-SYSMAC หุ่นยนต์ […]
Continue Reading... Comments Off on หุ่นยนต์ Gen ใหม่ !! [ EP.2 ] Omron SCARA Robot – i4H Seriesง่ายต่อการการบำรุงรักษาด้วยคุณฟีเจอร์การบำรุงรักษาในรูปแบบที่มีการโต้ตอบ ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุและลดการหยุดทำงานที่ไม่ได้คาดการณ์มาก่อน หุ่นยนต์ SCARA i4L สามารถช่วยคุณเพิ่มเวลาการทำงานและความแม่นยำ ด้วยคุณสมบัติการซ่อมแซมที่มีการโต้ตอบซึ่งเป็นชุดควบคุมที่ช่วยให้คุณตรวจสอบหุ่นยนต์ได้จากการแจ้งเตือนที่ไฟโดม RGB และซอฟต์แวร์ ACE ของ OMRON คุณสมบัติเหล่านี้ช่วยในการ ลดการหยุดทำงานจากกรณีที่ไม่ได้วางแผนไว้ ลดความซับซ้อนในการบำรุงรักษา ป้องกันอุบัติเหตุก่อนเหตุนั้นๆจะเกิดขึ้นจริง ทำงานได้เร็วขึ้นด้วยการบูรณาการการทำงาน (integration) และการซิงโครไนซ์ (synchronization) ที่เรียบง่าย หุ่นยนต์ Omron SCARA – i4L ได้นำเสนอฟีเจอร์มากมายที่บรรจุภายในเครื่องขนาดเล็ก กระทัดรัดและติดตั้งง่าย สามารถเชื่อมต่อ EtherCAT หรือ Ethernet ในคอนโทรลเลอร์เดียวกัน ในรุ่น i4L นี้สามารถเลือกติดตั้งได้กับทั้งผนังกำแพงและบนโต๊ะ นอกจากนี้ตัวควบคุมแบบครบวงจรที่มีในหุ่นยนต์รุ่นนี้ ยังช่วยลดค่าใช้จ่ายการเดินสายไฟเพื่อให้ติดตั้งง่ายขึ้น ด้วยเพราะฮาร์ดแวร์ทั้งหมดจะถูกรวมอยู่ที่ฐานของหุ่นยนต์ ตัวเลือกการติดตั้งและสายไฟ Table Mount (ขายึดโต๊ะ) Wall Mount (ตัวยึดผนัง) สร้างไลน์การผลิตของคุณให้เป็นอัตโนมัติได้ด้วยหุ่น SCARA i4L ของ Omron คุณสามารถตั้งโปรแกรมหุ่นยนต์ i4L ร่วมกับอุปกรณ์อื่นๆของ OMRON […]
Continue Reading... Comments Off on หุ่นยนต์ Gen ใหม่!! Omron SCARA Robot – i4L Seriesหุ่นยนต์ที่ใช้งานง่ายจะสามารถช่วยเพิ่มความยืดหยุ่นให้สายการบรรจุได้ Omron เสนอทางออกที่สมบูรณ์แบบสำหรับสายการบรรจุอัตโนมัติ ช่วยให้ลูกค้าสามารถเข้าถึงการผลิตที่มีความต้องการสูงด้วย “หุ่นยนต์แบบฝังตัว” และ “โมดูลหุ่นยนต์” ที่ถูกรวมเข้ากับเครื่องบรรจุภัณฑ์เพื่อการเพิ่มผลผลิต ไลน์ผลิตที่ยืดหยุ่น : สายการผลิตโดยใช้หุ่นยนต์ของ Omron Adept Technologies Inc. การผสมผสานที่เป็นเอกลักษณ์ของเทคโนโลยีการควบคุมและวิทยาการหุ่นยนต์เพื่อสายการผลิตขั้นสูงของ Omron โซลูชั่นบูรณาการหุ่นยนต์ขั้นสูง Omron เสนอโซลูชั่นหุ่นยนต์อัตโนมัติสำหรับการใช้งานตั้งแต่สิ่งอำนวยความสะดวก การผลิตที่ทันสมัย ไปจนถึงกระบวนการปฏิบัติงานโดยใช้อุปกรณ์ควบคุมที่หลากหลาย และนำไปผสานเข้ากับหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ โซลูชั่นบูรณาการหุ่นยนต์ขั้นสูง คืออะไร ? โซลูชั่นบูรณาการหุ่นยนต์ขั้นสูง คืออีโคซิสเต็มที่มีการผสานหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติเข้าด้วยกันอย่างแท้จริง เป็นการออกแบบมาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของรูปแบบและวงจรการผลิตทั้งหมด และยังส่งผลให้เกิดสภาพแวดล้อมหุ่นยนต์ Omron ที่แข็งแกร่งสมบูรณ์ด้วยตัวควบคุมเครื่อง NJ501-R สุดทันสมัยร่วมกับซอฟต์แวร์ Sysmac Studio ส่วนประกอบ Omron Robots กลุ่มผลิตภัณฑ์หุ่นยนต์แบบผสาน Cobra SCARA มาพร้อมการเชื่อมต่อ EtherCAT แบบเรียลไทม์กับ Omron NJ501-R Omron NJ501-R หุ่นยนต์รุ่นที่รวมเครื่องจักรและตัวควบคุมที่ให้ประสิทธิภาพและความสามารถในการปรับสูงสุดด้วยการผสานการเคลื่อนไหว วิทยาการหุ่นยนต์ ตรรกะ IO และความปลอดภัยได้อย่างราบรื่น SYSMAC […]
Continue Reading... Comments Off on นำนวัตกรรมสู่ไซต์การผลิตด้วย…หุ่นยนต์อุตสาหกรรมอัตโนมัติ by OmronOmron Robotic Automation รุ่นใหม่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพสายการผลิตที่ต้องการความพิถีพิถันสูงสุดด้วย 5 คุณสมบัติหลัก… การทำงาน รับประกันปริมาณงานโดยรวมด้วยการผสานกับเครื่องควบคุม Sysmac และหุ่นยนต์ VGR รุ่นใหม่ การจัดส่งที่รวดเร็ว จัดหาชิ้นส่วนในระยะเวลาอันรวดเร็วจาก 5 คลังสินค้าอัตโนมัติขนาดใหญ่ ความเรียบง่าย ลดระยะเวลาเริ่มต้นและการบำรุงรักษาด้วยซอฟต์แวร์แบบบูรณาการที่ควบคุมสายการผลิต มีประสิทธิภาพ ข้อมูลการผลิตทั้งหมดที่มาจากหุ่นยนต์ ตัวควบคุมและเซนเซอร์จะถูกรวบรวม แบ่งปันและจัดการตามลำดับ เพื่อวัตถุประสงค์การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ยืดหยุ่นได้ ระบบช่วยเหลือด้วยซอฟต์แวร์สร้างรหัสโปรแกรมใหม่ได้โดยอัตโนมัติ หุ่นยนต์อุตสาหกรรม – หุ่นยนต์สามตระกูลที่มีมากกว่า 100 แบบ!! Omron ได้นำเสนอโซลูชั่นหุ่นยนต์อัตโนมัติที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการใช้งานตั้งแต่การอำนวยความสะดวก การผลิตที่ทันสมัย ไปจนถึงกระบวนการปฏิบัติงานแบบแมนนวลโดยอาศัยหลากหลายอุปกรณ์ควบคุม และการรวมหุ่นยนต์เข้ากับระบบอัตโนมัติ ) หุ่นยนต์แบบแมงมุม ) หุ่นยนต์แขนกล ) หุ่นยนต์ SCARA หุ่นยนต์แบบแมงมุม (Parallel Robot) Hornet และ Quattro เป็นหุ่นยนต์ที่มีลักษณะคล้ายแมงมุม มีความเร็วสูง เหมาะสำหรับใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร&เครื่องดื่ม ยา และบรรจุภัณฑ์ Quattro เป็นหุ่นยนต์ […]
Continue Reading... Comments Off on Omron – หุ่นยนต์อุตสาหกรรมอัตโนมัติก่อนหน้านี้เราได้เคยนำเสนอบทความ แนะนำให้ทุกท่านได้รู้จักกับอุปกรณ์รีเลย์(Relay) ไปแล้วว่าคืออะไร? มีกี่ประเภท? และมีลักษณะการทำงานอย่างไรบ้าง แต่สำหรับวันนี้!! ในบทความนี้!!! เราจะขอพาทุกท่านมาดูต่อว่าถ้าเราจะเลือกซื้อรีเลย์ สิ่งสำคัญที่เราจะต้องรู้เพื่อการเลือกรุ่นรีเลย์ได้ถูกต้อง ตรงกับการใช้งานร่วมกับเครื่องจักรและระบบงานของคุณ คุณจำเป็นต้องรู้สิ่งต่างๆเหล่านี้ด้วย เริ่มจาก… พิกัดแรงดัน เป็นขนาดของแรงดันไฟฟ้าที่จะต้องจ่ายให้แก่ขดลวดเหนี่ยวนำของรีเลย์เพื่อให้เกิดการเหนี่ยวนำหน้าสัมผัส(Contact) ตัวอย่างเช่น 200/220 VAC, 24 VDC ด้วยเหตุนี้เวลาสั่งซื้อรีเลย์ เราจำเป็นจะต้องกำหนดพิกัดแรงดันต่อท้ายจากชื่อรุ่นของรีเลย์ด้วย เช่น MY2-GS 6 VAC (MY2-GS = ชื่อรุ่น, 6 VAC = พิกัดแรงดันขดลวดเหนี่ยวนำ) ชนิดของโหลด ชนิดของโหลดที่จะนำมาใช้กับรีเลย์ เช่น มอเตอร์ AC, โซลีนอยด์ AC, โซลีนอยด์ DC, สวิตซ์แม่เหล็ก DC ฯลฯ พิกัดโหลด เป็นอัตราความทนได้ต่อแรงดันที่กระทำต่อหน้าสัมผัสและกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านหน้าสัมผัส เช่น 5 A, 220 VAC หมายถึงหน้าสัมผัสของรีเลย์สามารถทนต่อกระแสไฟได้ 5 A เมื่อหน้าสัมผัสถูกป้อนแรงดัน […]
Continue Reading... Comments Off on สิ่งที่ต้องรู้!! How to…เลือกซื้อรีเลย์ (Relay)