กรณีศึกษาที่ 1 : ในกระบวนการผลิตอาหารบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป การตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของเครื่องปรุงต่างๆ เป็นสิ่งสำคัญ ออมรอนมีโซลูชั่นช่วยในการตรวจสอบอย่างไร ? ปัญหา : ในกระบวนการบรรจุบะหมี่และซอสปรุงรส บางครั้งเราอาจพบว่าไม่มีซองเครื่องปรุงในบรรจุภัณฑ์ซึ่งอาจเกิดจากความผิดพลาดของคนงาน ลูกค้าจึงต้องการใช้เซนเซอร์เพื่อตรวจสอบว่ามีซองซอสอยู่หรือไม่เพื่อให้แน่ใจก่อนส่งไปยังแผนกบรรจุภัณฑ์ ออมรอนจะมีโซลูชั่นไหนเพื่อการแก้ปัญหานี้ ออมรอนขอนำเสนอโซลูชั่นการติดตั้งเลเซอร์เซนเซอร์รุ่น E3NC-SA21 ( CMOS ) พร้อมหัว E3NC-SH250 โดยเซนเซอร์จะสามารถตรวจจับได้ว่ามีหรือไม่มีซอสเครื่องปรุง นอกจากนี้แล้วการ teching ยังมีจุดเด่นด้านการปรับแต่งตั้งค่าการตรวจจับได้ง่าย ๆ ทั้งแบบมีและไม่มีซอส กรณีศึกษาที่ 2 : ในระบบสายพานลำเลียง การตรวจสอบถาดแต่ละขนาดว่า มี/ไม่มี แคร็กเกอร์ ปัญหา : ลูกค้าต้องการใช้เซนเซอร์ตรวจสอบตำแหน่งของถาดก่อนเติมแคร็กเกอร์ แต่ไม่สามารถใช้หัวไฟเบอร์แบบธรรมดาได้ด้วยเพราะถาดขนมที่แตกต่าง ออมรอนจะมีโซลูชั่นดีๆอะไรเพื่อมาแก้ปัญหานี้ ออมรอนขอนำเสนอโซลูชั่นการใช้หัวเซนเซอร์ รุ่น E32-T16PR พร้อม E3X-HD ด้วยโซลูชั่นนี้ชนิดของถาดขนมแคร็กเกอร์ก็จะไม่มีผลต่อการตรวจจับเซนเซอร์อีกต่อไปเนื่องจากหัวเซนเซอร์เป็นแบบแถบ –[ การตรวจสอบตะเข็บในกระบวนการผลิตสินค้า ]– กรณีศึกษาที่ 3 : การตรวจสอบตะเข็บในกระบวนการผลิตสินค้า ปัญหา : สำหรับขั้นตอนนี้จำเป็นจะต้องตรวจสอบความถูกต้องของบรรจุภัณฑ์ว่ามีรอยตะเข็บหรือไม่ […]
Continue Reading... Comments Off on สาระพันปัญหาแก้ได้ด้วย..Omron Solution –[ ตอน ตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของสินค้าและบรรจุภัณฑ์ ]สำหรับวงการอุตสาหกรรมอาหารแล้ว หนึ่งในปัญหาที่แทบจะมีกับทุกโรงงานก็คือ การเช็คตำแหน่งการตัดของซองบรรจุภัณฑ์ นั่นเองค่ะ ด้วยเหตุนี้ออมรอนจะมีโซลูชั่นอะไรที่สามารถช่วยแก้ปัญหานี้ได้บ้างนะ? ปัญหาที่เกิดขึ้นคือ… หลังจากเติมซอสลงในบรรจุภัณฑ์แล้ว ผู้ใช้งานต้องคอยตรวจสอบตำแหน่งที่เหมาะสมของบรรจุภัณฑ์ซอสเพื่อทำการตัดซึ่งนั่นก็คือ จุดที่ไม่มีซอส!! จากปัญหาการเช็คตำแหน่งการตัดซองบรรจุภัณฑ์ ออมรอนขอนำเสนอโซลูชั่นการติดตั้งใช้งานอุปกรณ์เซนเซอร์รุ่น E3NX-FA ร่วมกับ E32-T11R และ E39-F1 โดยตั้งค่า Teching ตำแหน่งว่ามีซอสหรือไม่มีซอสเพื่อระบุตำแหน่งที่จะทำการตัดซองบรรจุภัณฑ์
Continue Reading... Comments Off on สาระพันปัญหาแก้ได้ด้วย..Omron Solution –[ ตอนปัญหาการเช็คตำแหน่งตัดซองบรรจุภัณฑ์ ]–ความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วในด้านเทคโนโลยีพื้นฐานอย่าง การนำทาง การจัดการ และความปลอดภัยในการทำงานเป็นเหตุให้เกิดการผลักดันหุ่นยนต์ให้มีความเฉลียวฉลาด คล่องตัวและมีความปลอดภัยมากขึ้น เพื่อนในอุดมคติสำหรับมนุษย์อย่างหุ่นยนต์เคลื่อนที่นั้น ได้รับการพิสูจน์แล้วในเรื่องของการปฏิบัติงานและหน้าที่ที่มีความสำคัญทางธุรกิจในสภาพกลางแจ้งจากบริษัทสืบค้นข้อมูลระดับโลก ABI Research กล่าวว่า “การขนส่งของหุ่นยนต์เคลื่อนที่กลางแจ้งจะเติบโตขึ้นจาก 40,000 ตัวในปี 2564 เป็น 350,000 ตัวในปี 2573 มีอัตราการเติบโตต่อปีแบบทบต้นสูงกว่า 27% ด้วยความสำเร็จในการใช้งานหุ่นยนต์เคลื่อนที่เพื่อนำทาง จัดการ และเพื่อการทำงานที่ปลอดภัยในการจัดการกับวัสดุ การขนส่งและการทำความสะอาดให้เป็นไปตามเป้าหมายซึ่งปัจจุบันบริษัทต่างๆ ก็กำลังมองหาการนำหุ่นยนต์เพื่อใช้งานกลางแจ้งมาติดตั้งใช้งานด้วยเหตุเดียวกันนี้ โมดูลเหล่านี้มีระบบการนำทางและคอมพิวเตอร์วิทัศน์ที่ปรับให้เข้ากับบริบทโดยมุ่งเน้นไปที่ความสามารถการใช้งานแม้ในระบบรุ่นก่อนและการทำงานร่วมกัน บริษัทยักษ์ใหญ่ด้านน้ำมันและก๊าซกำลังติดตั้งใช้งานหุ่นยนต์สี่ขาจาก ANYbotics และ Boston Dynamics เพื่อตรวจสอบด้านความปลอดภัยบริเวณบันไดตาข่ายและทางแคบๆ ซึ่งจะไม่เหมาะกับหุ่นยนต์มีล้อ จากสถานการณ์โควิด-19 การล็อกดาวน์อย่างต่อเนื่องในประเทศจีนก็เป็นหนึ่งในสาเหตุที่กระตุ้นการนำหุ่นยนต์เคลื่อนที่จาก Alibaba, Neolix, และ White Rhino มาใช้สำหรับการขนส่งต่อสุดท้าย นาย Lian Jye มีความเห็นว่า ผู้จำหน่ายชิปเซ็ต(chipset) รายใหญ่กำลังกระตือรือร้นที่จะพัฒนาโซลูชั่นเพื่อจัดการกับช่องว่างด้านความไร้ที่ติและความปลอดภัย ขณะเดียวกันก็ทำให้เกิดพัฒนาการที่เร่งรัดในหุ่นยนต์ที่สามารถปฏิบัติการร่วมกับมนุษย์ อีกทั้งยังเกิดการทดลองและฝึกฝนหุ่นยนต์เสมือนเพื่อการเข้าถึงและสามารถปรับขนาดได้อย่างหลากหลาย Intel ยังคงพัฒนาชุดการพัฒนาซอฟต์แวร์ RealSense อย่างต่อเนื่องผ่านไลบรารี่และเครื่องมือใหม่ๆ ขณะที่ AMD/Xilinx […]
Continue Reading... Comments Off on การขาดแคลนแรงงานดันยอดหุ่นยนต์ขนส่งเคลื่อนที่กลางแจ้งพุ่งสูงกว่า 350,000 ตัวในปี 2573